
“ไม่ใช่ความแข็งแรง หรือ ความฉลาด แต่เป็น #ความ
พยายาม ต่างหากที่จะปลดล็อคพันธนาการที่เก็บ
ซ่อนความสามารถที่แท้จริงของเราไว้” คนที่มี
Growth mindset เชื่อว่าความพยายามเป็น
เครื่องมือในการพัฒนาทักษะ ยิ่งพยายามมากเท่าไหร่
โอกาสที่จะพัฒนาและเรียนรู้มากขึ้น แต่คนที่มี Fixed
mindset กลับมองว่า ความพยายามเป็นเรื่องของคน
ไม่เก่ง คนที่มีความสามารถไม่จําเป็นแสดงความ
พยายามเพราะมีพรสวรรค์ติดตัวมาแต่กําเนิดอยู่แล้ว
ผู้นําองค์กรที่มี Growth mindset จะเชื่อว่าพนักงาน
ทุกคนสามารถพัฒนาได้ หากได้รับการอบรม และ
ฝึกฝนมากพอ ส่วนผู้นําที่มี Fixed mindset คิดว่า
ความเก่งติดมากับตัว จึงเลือกที่จะมองหาคนเก่ง
ภายนอกองค์กรเข้ามาเสริมแทนที่จะพัฒนาคนภาย
ในองค์กร

เราระหว่างความสําเร็จไว้ คนที่มี Growth
mindset จะมองว่าอุปสรรคที่เกิดขึ้นทําให้
เราต้องตั้งใจและอดทน เชื่อว่าเมื่อความ
ท้าทายเป็นสะพานมากกว่ากําแพงที่ไปถึง
ความสําเร็จ กลับกัน คนที่มี Fixed Mindset
จะคิดว่าอุปสรรค ทําให้ต้องแสดงความ
พยายาม ทําให้เขาดูเป็นคนไม่เก่ง หรือ
กลัวความล้มเหลว สุดท้ายคนที่มี Fixed
mindset ก็ล้มเหลวเพราะไม่ลงมือทําอะไรเลย
องค์กรที่มีผู้นํา Growth mindset จะกล้า
เผชิญกับปัญหา เพราะเชื่อว่า อุปสรรคเป็น
ส่วนนึงของกระบวนการสูู่ความสําเร็จ

หรือ เมื่อเกิคดวามผิดพลาดขึ้น ก็จะมองหาแพะรับบาป มากกว่าจะรับผิดชอบด้วยตัวเอง ความผิดพลาด คือ ความล้มเหลว แต่ผู้นําที่มี Growth mindset จะยอมรับ และเรียนรู้จากความผิดพลาด เสมอ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด คือ อีลอน มัสก์ ผู้ก่อตั้ง สเปซเอ็กซ์ ได้ทําการทดลองปล่อยกระสวยอวกาศและล้มเหลวถึง 3 ครั้ง กว่าจะประสบความสําเร็จในเดือนกันยายน
ปี 2008 อีลอนให้สัมภาษณ์ว่า เขาไม่ได้ล้มเหลว แต่มันคือการที่ทีมและเขาได้เรียนรู้และพยายามพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น องค์กรที่สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ อย่าง เทสล่า หรือ สเปซเอ็กซ์ ของอีลอน มัสก์นั้น ความผิดพลาด เป์น เรื่องธรรมดา ดั่งคํากล่าวของ อีลอน มัสก์ ที่ว่า “ความล้มเหลว เป็นส่วนนึงของการสร้างนวัตกรรม หากคุณไม่เคยล้มเหลว แสดงว่าคุณยังไม่ได้สร้างอะไรใหม่มากพอ”

ระหว่างโจ ไบเดน กับ โดนัล ทรัมป์ โจ ไบเดน พูดถึงเรื่องความเสียหายถึงการจัดการการระบาดของโควิดที่ผ่านมา แน่นอนสิ่งที่ทรัมป์โต้ตอบออกมาคือ กล่าวหาจีนว่าเป็นตัวการของปัญหา แทนที่จะแสดงความรับผิดชอบในฐานะผู้นําประเทศ ทรัมป์กลับมองว่าเขาไม่ได้ทําอะไรผิด
แต่ประเทศจีนต่างหากที่ต้องรับผิดชอบ หากพนักงานในองค์กรเปิดใจรับข้อมูลย้อนกลับโดยมี Growth mindset จะทําให้เห็นมุมมองที่ต่าง
ออกไปและพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง

ได้ยกตัวอย่าง Iacocca อดีต ซีอีโอของไครสเลอร์ ขณะที่ธุรกิจรถของญี่ปุ่นได้เข้ามาตีตลาด
รถยนต์ของสหรัฐอเมริกา ทั้งวิศวกรและดีไซเนอรร์ได้เสนอแนะรถรุุนใหม่เพื่อมาแข่งขันกับรถญี่ปุ่น
ผู้นําที่มีกรอบความคิดตายตัวจะมองบริษัทคู่แข่งเป็นศัตรู ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่แพ้ก็ชนะ
คิดแบบ zero sum game แต่หากผู้นํามี Growth Mindset จะมองว่าสามารถร่วมมือกับบริษัทคู่แข่ง
เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันแบบ win-win ได้ Steve Ballmer อดีตผู้นําของ Microsoft ช่วงปี 2000-2014 มองบริษัทคู่แข่งเป็นศัตรู ไม่ร่วมมือด้วยกัน ตรงข้ามกับ Satya Nadella CEO ปัจจุบัน ของ Microsoft ที่พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อให้ใช้ได้ทั้ง ios และ android ทําให้ราคาหุ้น
ของ Microsoft ขึ้นมาหลายเท่าตัว Satya เชื่อในเรื่อง Growth Mindset และมองว่าเราสามารถ
สร้างความสําเร็จร่วมกันได้
