ดร. จตุพร วิศิษฏ์โชติอังกูร
วิทยากร ที่ปรึกษา และโค้ช
การศึกษา (Educational Background)
B.P.H – Public Health Chiang Mai University
Faculty of Medicine,B.P.H.(Public Health)
M.Ed – (Health Promotion) Chiang Mai University
Faculty of Education, M.Ed.(Health Promotion)
Ph.D – (Population Education) Mahidol University
Faculty of Social Sciences and Humanities
Ph.D.(Population Education) Studying Master degree of Business Administration Program in People Management and Organization Strategy (MBA – POS)
Panyapiwat Institute of Management (year2018 – now)
ประสบการณ์การทำงาน (Work Experience)
– นักวิจัย สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
– รับราชการ (ลาออกจากราชการ)
ประวัติการเป็นวิทยากรภาครัฐ – ทางด้านบุคลากรสุขภาพ
-หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้บริหารการพยาบาล(Chief Nursing Officer : CNO) ระดับประเทศ
-หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้บริหารการพยาบาล(Chief Nursing Officer : CNO) ระดับเขตสุขภาพ ทั้ง 12 เขตสุขภาพ กรมอนามัย
-หลักสูตรการวิจัยจากงานประจำ (Routine to Research) เขตบริการสุขภาพที่ 4,เขตบริการสุขภาพที่ 5, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี,สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี,เครือข่ายมะเร็งเขตสุขภาพที่ 5,โรงพยาบาลต่างๆทั่วประเทศ ฯลฯ
-หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพองค์กร KM to Organization สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข,กรมอนามัย,เขตสุขภาพที่ 12 ฯลฯ
-หลักสูตรการพัฒนา Facilitator Skills,Coaching,Learning Coach ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน
ประวัติการเป็นวิทยากรภาคเอกชน
-บมจ.ซินเท็ค คอนสตรัคชั่น
-บจก.คิงพาวเวอร์
-บจก.เนสท์เล่ (ไทย)
-เมกกะบางนา
-SCG
-ผลิตภัณฑ์ ตราเพชร
-บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด ฯลฯ
ตัวอย่างหลักสูตรการฝึกอบรม (เน้น Workshop)
ประเด็น : ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Leader for Change) ในศตวรรษที่ 21
-หลักสูตรการโค้ชสำหรับหัวหน้างานเพื่อประสิทธิภาพของการทำงาน
-หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพ Facilitator เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในองค์กร
-ประเด็น : การพัฒนาทักษะการคิดการจัดการงานที่มีประสิทธิภาพสูง
-หลักสูตรกระบวนการออกแบบนวัตกรรม (Concept Thinking)
-หลักสูตรการคิดเชิงระบบ (System Thinking)
-หลักสูตรการคิดเชิงสร้างสรรค์ (การคิดเชิงนวัตกรรม)
ประเด็น : การพัฒนาทักษะวิจัยเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของการทำงาน
-หลักสูตรการพัฒนาทักษะนักวิจัย เพื่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้
-หลักสูตรการพัฒนาทักษะวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
-หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยระดับองค์กร การพัฒนาทักษะวิจัยจากงานประจำ (Routine to Research),การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research)
-ทักษะนักวิจัยที่จำเป็นได้แก่ ทักษะการปฏิบัติการวิจัย (ภาพรวม), ทักษะการสังเกต ,ทักษะการเขียน งานวิชาการและอื่นๆ ,ทักษะการสัมภาษณ์ ,ทักษะการถอดบทเรียน ,ทักษะการนำเสนอ เป็นต้น
ประเด็น : การพัฒนาศักยภาพองค์กร ด้วย KM เพื่อพัฒนาองค์กรไปสู่Learning Organization (LO)
-หลักสูตรการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้
-การสร้างและพัฒนา PLC (Professional Learning Community)
– การสร้างและพัฒนา CoPs (Community of Practices)
-การพัฒนาผู้นำการเรียนรู้ (Learning Coach or Facilitator)
-หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้วยทักษะ KM
-* ทักษะ KM ที่จำเป็นได้แก่ ทักษะการสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่ทรงพลัง,ทักษะการเขียนเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่มีคุณภาพ, ทักษะการถอดบทเรียนและ ทักษะการสื่อสารและการนำเสนอ เป็นต้น
ประเด็น : การพัฒนาศักยภาพบุคคลและองค์กร อื่นๆ
-หลักสูตร OD (Organization Development) แบบสร้างสรรค์แนวใหม่
-การปลูกจิตสำนึกรักองค์กร
– หลักสูตรการนำเสนออย่างมีพลังและมืออาชีพ (High Impact Presentation)
– หลักสูตรการออกแบบการนำเสนออย่างมืออาชีพ ด้วยโปรแกรมนำเสนอ
– หลักสูตรการพัฒนาภาษากายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสาร
-หลักสูตรการพัฒนาพฤติกรรมบริการ ฯลฯ