In-House Training Courses
Team Leadership & Self Leading
Be Resilience
หัวข้อและขอบเขตวิชา
1. การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในสังคมอนาคตและความท้าทาย (Social Change)
– การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การปฏิวัติสารสนเทศ
– การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สังคมในอนาคต
– การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
– การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมและภูมิศาสตร์
– การคิดเชิงอนาคตเพือรับการเปลี่ยนแปลง
2. การเปลี่ยนแปลงในระดับองค์การ (Organization Change)
– สาระสำคัญของการพัฒนาองค์การ
– การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ขององค์กรภายใต้การเปลี่ยนแปลง
– วัตถุประสงค์ของการพัฒนาองค์การ
– วิธีการเปลี่ยนแปลงองค์การ
– การพัฒนาองค์การกับการพัฒนาการบริหาร
- การจัดการร่วมสมัยสู่การก้าวสู่องค์กรภาครัฐระดับสากล
-Digital Transformation
– เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กรสมัยใหม่
– Design Thinking Model
– Agility Management
3. การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้วยความยิดหยุ่น (Leadership for Resilience “R”)
– กรณีศึกษา ผู้นำที่เป็นแรงบันดาลใจ
– การกระโดดออกจากกรอบความคิดเดิมสู่การเป็นผู้นำที่แท้จริง
– การเปลี่ยนแปลงเพื่อเป็นผู้นำ แนวทางของ Boyatzis
- ศาสตร์และศิลป์ของการใช้อำนาจ จากจุดที่คุณอยู่
- การทำงานของบุคลากรอย่างยืดหยุ่นภายใต้การเปลี่ยนแปลง
- Change Sponsor / Change Advocate / Change Agent / Change Target
- จิตวิทยาการทำงานของตนเองอย่างยืดหยุ่น
- การปรับตัวและมนุษย์สัมพันธ์
4. การบริหารสมัยใหม่เพื่อพัฒนาประเทศไทยภายใต้การเปลี่ยนแปลง ( Modern Management for Thailand Competitiveness Development )
– การกำหนดแนวทางยุทธศาสตร์ ( Road mapping Strategy )
– มิติใหม่ของการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศกับการเป็นพันธมิตรร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
– ยุทธศาสตร์ของการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย
– การเตรียมพร้อมและการปรับตัวของนักบริหารเพื่อให้ก้าวทันเทคโนโลยีของโลก
– การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างศักยภาพการแช่งขันของกลุ่มอาเซี่ยน
– การผนวกองค์ความรู้กับการบริหารเพื่อการวางยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลง ในแต่ละมิติ
– วิสัยทัศน์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งความรู้ อำนาจกำลังรบที่ไม่มีตัวตน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสำหรับผู้บริหาร
- ยุทธศาสตร์เพื่อการบริหารการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม
- การเชื่องโยง ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ภาค และยุทธศาสตร์จังหวัด
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาข้ามพรมแดน
- การบริหารการเปลี่ยนแปลงภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
- พลวัตการเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจและภูมิรัฐศาสตร์โลก
การเปลี่ยนแปลงของการวิจัยของประเทศในอนาคต (Change in Research)
- การเปลี่ยนแปลงในเรื่องงานวิจัยในระดับโลก ระดับประเทศ และการสนับสนุนนักวิจัยในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
หัวข้อการฝึกอบรม
Session | ช่วงเวลา | รายละเอียดเนื้อหา |
1 | 9:00-10:30 น. | การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในสังคมอนาคตและความท้าทาย – การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การปฏิวัติสารสนเทศ – การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สังคมในอนาคต – การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ – การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมและภูมิศาสตร์ – การคิดเชิงอนาคตเพือรับการเปลี่ยนแปลง – Workshop |
2 | 10:30-12:00 น. | การเปลี่ยนแปลงในระดับองค์การ (Organization Change) – สาระสำคัญของการพัฒนาองค์การ – การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ขององค์กรภายใต้การเปลี่ยนแปลง – วิธีการเปลี่ยนแปลงองค์การ – การพัฒนาองค์การกับการพัฒนาการบริหาร • การจัดการร่วมสมัยสู่การก้าวสู่องค์กรภาครัฐระดับสากล -Digital Transformation – เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กรสมัยใหม่ – Design Thinking Model – Agility Management |
3 | 13:00-14.30 น. | การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้วยความยิดหยุ่น (Leadership for Resilience “R”) – กรณีศึกษา ผู้นำที่เป็นแรงบันดาลใจ – การกระโดดออกจากกรอบความคิดเดิมสู่การเป็นผู้นำที่แท้จริง – การเปลี่ยนแปลงเพื่อเป็นผู้นำ แนวทางของ Boyatzis – ศาสตร์และศิลป์ของการใช้อำนาจ จากจุดที่คุณอยู่ – การทำงานของบุคลากรอย่างยืดหยุ่นใต้การเปลี่ยนแปลง – Change Sponsor / Change Advocate / Change Agent / Change Target – จิตวิทยาการทำงานของตนเองอย่างยืดหยุ่น – การปรับตัวและมนุษย์สัมพันธ์ – Workshop |
4 | 14:45-16:00 น. | การบริหารสมัยใหม่เพื่อพัฒนาประเทศไทยภายใต้การเปลี่ยนแปลง (Modern Management for Thailand Competitiveness Development ) – มิติใหม่ของการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศกับการเป็นพันธมิตรร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน – ยุทธศาสตร์ของการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทยและการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างศักยภาพการแข่งขันของกลุ่มอาเซี่ยน – ยุทธศาสตร์เพื่อการบริหารการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม – การเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ภาค และยุทธศาสตร์จังหวัด การเปลี่ยนแปลงของการวิจัยของประเทศในอนาคต -การเปลี่ยนแปลงในเรื่องงานวิจัยในระดับโลก ระดับประเทศ และการสนับสนุนนักวิจัยในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง |
วิธีการฝึกอบรม
บรรยาย กรณีศึกษา อภิปรายแลกเปลี่ยน
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ผู้เกี่ยวข้องในระดับปฏิบัติงาน จำนวน 30 คน
ระยะเวลาการฝึกอบรม
ระยะเวลาการฝึกอบรม 1 วัน
แนวทางที่ใช้ในการอบรม
แนวทางการสัมมนาและรูปแบบการเรียนรู้ : ทฤษฎี 40 : ปฏิบัติ 60
บรรยาย ถ่ายทอดความรู้ให้ผู้เข้าอบรม
ตัวอย่าง/กรณีศึกษาประกอบ เพื่อเห็น “ภาพที่ชัดเจน” มากยิ่งขึ้น
การเสวนาตีความ วิเคราะห์เพื่อเข้าใจให้เชิงลึกเพื่อการประยุกต์ใช้
- การสัมมนาใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult Learning) ด้วยวิธีการบรรยายควบคู่กับการปฏิบัติ เน้นการบรรยายแบบให้ผู้เข้าสัมมนาเป็นศูนย์กลางการอบรมการตั้งประเด็นคำถามเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด แลกเปลี่ยนประสบการณ์ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและนำเสนอ เพื่อให้เกิดความเข้าใจเนื้อหาอย่างแท้จริง และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทันที
- เนื้อหาของโปรแกรมมีทั้งการบรรยายให้ความรู้ พร้อม VDO ประกอบการบรรยาย, กิจกรรมกลุ่มการระดมความคิด (Brainstorming) , การฝึกปฏิบัติการ (Work Shop), กรณีศึกษาและสถานการณ์จำลอง (Case Study and Simulation) และ การนำเสนอ (Present) ทำให้การเรียนรู้ เกิดเข้าใจด้วยตัวเองอย่างแท้จริง
Ready to join our knowledge castle?
Find the right program for your organization and achieve your goals today